สรุปผลการดำเนินงาน
การป้องกันและอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2557 จังหวัดนครพนม (ระหว่างวันที่ 11-17 เมษายน 2557) รวม 7 วัน
สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2557 ดังนี้
1. การตั้งจุดตรวจทั่วจังหวัดนครพนม
- จุดตรวจ/ด่านตรวจร่วม จำนวน 22 จุด มีผู้ปฏิบัติทุกผลัดจำนวน 5,292 คน
- จำนวนเรียกตรวจยานพาหนะ จำนวน 116,330 คัน เพิ่มขึ้นจากสงกรานต์ปี 56 จำนวน 20,765 คัน
- จุดสกัดกั้นหมู่บ้าน/ชุมชน ได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายต่างๆ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตั้งจุดตรวจ และรักษาความเรียบร้อย จำนวน 369 จุด เพิ่มขึ้นจากสงกรานต์ปี 56 จำนวน 28 จุด
2. จำนวนอุบัติเหตุ 60 ครั้ง
- เปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลสงกรานต์ปี 2556 จำนวน 53 ครั้ง เพิ่งขึ้น 7 ครั้ง (คิดเป็น+13.21% )
- อำเภอที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุด คืออำเภอเมืองนครพนม (19 ครั้ง) รองลงมาคืออำเภอโพนสวรรค์ (8 ครั้ง) อำเภอธาตุพนม (7 ครั้ง) อำเภอนาแก,นาหว้า (6 ครั้ง) อำเภอเรณูนคร (4 ครั้ง) อำเภอท่าอุเทน (3 ครั้ง) อำเภอปลาปาก,บ้านแพง,วังยาง (2 ครั้ง) และอำเภอศรีสงคราม (1 ครั้ง)
- อำเภอที่ไม่เกิดอุบัติเหตุ ได้แก่ อำเภอนาทม
3. จำนวนผู้เสียชีวิต 4ราย
- เปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2556 จำนวน 5 ราย ลดลง 1 ราย (คิดเป็น-20% )
- อำเภอที่ผู้เสียชีวิตสูงสุด คืออำเภอบ้านแพง (2 ราย)
- รองลงมา คือ อำเภอเมืองนครพนม,นาแก (1 ราย)
4. จำนวนผู้บาดเจ็บ 65 ราย
- เปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลสงกรานต์ปี 2556 จำนวน 57 ราย เพิ่มขึ้น 8 ราย (คิดเป็น+14.04% )
- อำเภอที่ผู้บาดเจ็บสูงสุด คืออำเภอเมืองนครพนม (18 ราย) รองลงมาคืออำเภอธาตุพนม,โพนสวรรค์ (8 ราย) อำเภอนาหว้า (7 ราย) อำเภอนาแก (6 ราย) อำเภอท่าอุเทน,บ้านแพง,เรณูนคร ( 4ราย) อำเภอวังยาง (3ราย) อำเภอปลาปาก (2ราย) อำเภอศรีสงคราม (1ราย)
5. สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุสูงสุดคือ
- เมาสุรา 28 ครั้ง (คิดเป็น 46.67% )
- ขับรถเร็วเกินกำหนด 13 ครั้ง (คิดเป็น 21.67% )
- มอเตอร์ไซค์ไม่ปลอดภัย 11 ครั้ง (คิดเป็น 18.33% )
- ตัดหน้ากระชั้นชิด 7 ครั้ง (คิดเป็น 11.67% )
- สุนัขวิ่งตัดหน้า 1 ครั้ง (คิดเป็น 1.66% )
6. ยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุดคือ
- รถมอเตอร์ไซค์ 54 ครั้ง (คิดเป็น 90.0% )
- รถปิกอัพ 3 ครั้ง (คิดเป็น 5.0% )
- คนเดินถนน 3 ครั้ง (คิดเป็น 5.0% )
7. ประเภทถนนที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุดคือ
- ถนนอบต./หมู่บ้าน 24 ครั้ง (คิดเป็น 40.01% )
- ถนนทางหลวงแผ่นดิน 20 ครั้ง (คิดเป็น 33.33% )
- ถนนในเมือง/เทศบาล 8 ครั้ง (คิดเป็น 13.33% )
- ถนนทางหลวงชนบท 8 ครั้ง (คิดเป็น 13.33% )
8. ช่วงเวลาที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุดคือ
กลางคืน
- เวลา 16.01-20.00 น. 16 ครั้ง (คิดเป็น 26.67% )
- เวลา 20.01-00.00 น. 10 ครั้ง (คิดเป็น 16.67% )
- เวลา 00.01-04.00 น. 4 ครั้ง (คิดเป็น 6.66% )
- เวลา 04.01-08.00 น. 3 ครั้ง (คิดเป็น 5.00% )
กลางวัน
- เวลา 08.00-12.00 น. 15 ครั้ง (คิดเป็น 25.00% )
- เวลา 12.01-16.00 น. 12 ครั้ง (คิดเป็น 20.00% )
9. ช่วงอายุผู้บาดเจ็บสูงสุดคือ
- 30 39 ปี 18 คน (คิดเป็น 27.70% )
- 15-19 ปี 14 คน (คิดเป็น 21.53% )
- 20-24 ปี 9 คน (คิดเป็น 13.84% )
- 50 ปีขึ้นไป 8 คน (คิดเป็น 12.30% )
- 40-49 ปี 7 คน (คิดเป็น 10.77% )
- 1-14 ปี 5 คน (คิดเป็น 7.70% )
- 25-29 ปี 4 คน (คิดเป็น 6.16% )
10. ช่วงอายุผู้ชีวิตสูงสุดคือ
- 50 ปีขึ้นไป 2 คน (คิดเป็น 50% )
- 30-39 ปี 1 คน (คิดเป็น 25% )
- 1-14 ปี 1 คน (คิดเป็น 25% )
11. จำนวนยานพาหนะที่ถูกเรียกตรวจ 116,330 คัน เปรียบเทียบกับสงกรานต์ปี 2556 เพิ่มขึ้น 20,765 คัน คิดเป็น +21.73% รายละเอียดดังนี้
- รถมอเตอร์ไซค์ 41,861 คัน เพิ่มขึ้น 7,939 คัน ( คิดเป็น+23.40% )
- รถปิกอัพ 32,423 คัน เพิ่มขึ้น 6,684 คัน ( คิดเป็น+25.97% )
- รถเก๋ง/แท็กซี่ 23,073 คัน เพิ่มขึ้น 6,770 คัน ( คิดเป็น+41.53% )
- รถตู้ 5,822 คัน เพิ่มขึ้น 828 คัน (คิดเป็น+16.58% )
- รถโดยสาร 4 ล้อขึ้นไป 3,651 คัน เพิ่มขึ้น 832 คัน (คิดเป็น+29.51% )
- รถบรรทุก 6 ล้อขึ้นไป 2,374 คัน ลดลง 468 คัน (คิดเป็น-16.47% )
- รถอื่นๆ 7,126 คัน ลดลง 1,820 คัน (คิดเป็น-20.34% )
12. จำนวนผู้ที่ถูกดำเนินคดีตามมาตรการที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ 10 มาตรการ ดังนี้
- ไม่สวมหมวกนิรภัย 2,358 ราย ลดลง 67 ราย (คิดเป็น-2.76% )
- มอเตอร์ไซค์ไม่ปลอดภัย 852 ราย เพิ่มขึ้น 36 ราย (คิดเป็น+4.41% )
- เมาสุรา 139 ราย เพิ่มขึ้น 9 ราย (คิดเป็น+6.92% )
- ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย 1,308 ราย ลดลง 13 ราย (คิดเป็น-0.98% )
- ไม่มีใบขับขี่ 3,572 ราย เพิ่มขึ้น 160 ราย (คิดเป็น+4.69% )
- ความรถเร็วเกินกำหนด 432 ราย เพิ่มขึ้น 138 ราย (คิดเป็น+46.93% )
- ฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร 242 ราย ลดลง 21 ราย (คิดเป็น-7.98% )
- ขับรถย้อนศร 283 ราย เพิ่มขึ้น 9 ราย (คิดเป็น+3.28% )
- แซงในที่ขับขัน 167 ราย เพิ่มขึ้น 40 ราย (คิดเป็น+31.50% )
- ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ขณะขับรถ 121 ราย ลดลง 5 ราย (คิดเป็น-3.97% )
13. สถิติทั่วประเทศ
- จังหวัดที่มีผู้เสียชีวิตสูงสุดได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 14 ราย รองลงมา คือ จังหวัดเชียงราย จำนวน 11 ราย และจังหวัดเชียงใหม่,นครสวรรค์,ราชบุรี จำนวน 9 ราย
- จังหวัดที่ไม่มีผู้เสียชีวิต จำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเพชรบุรี,อ่างทอง,ชัยนาท,พังงา,ยะลา
- จังหวัดนครพนมอยู่ในลำดับที่ 33 ของประเทศ
การป้องกันและอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2557 จังหวัดนครพนม (ระหว่างวันที่ 11-17 เมษายน 2557) รวม 7 วัน
สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2557 ดังนี้
1. การตั้งจุดตรวจทั่วจังหวัดนครพนม
- จุดตรวจ/ด่านตรวจร่วม จำนวน 22 จุด มีผู้ปฏิบัติทุกผลัดจำนวน 5,292 คน
- จำนวนเรียกตรวจยานพาหนะ จำนวน 116,330 คัน เพิ่มขึ้นจากสงกรานต์ปี 56 จำนวน 20,765 คัน
- จุดสกัดกั้นหมู่บ้าน/ชุมชน ได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายต่างๆ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตั้งจุดตรวจ และรักษาความเรียบร้อย จำนวน 369 จุด เพิ่มขึ้นจากสงกรานต์ปี 56 จำนวน 28 จุด
2. จำนวนอุบัติเหตุ 60 ครั้ง
- เปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลสงกรานต์ปี 2556 จำนวน 53 ครั้ง เพิ่งขึ้น 7 ครั้ง (คิดเป็น+13.21% )
- อำเภอที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุด คืออำเภอเมืองนครพนม (19 ครั้ง) รองลงมาคืออำเภอโพนสวรรค์ (8 ครั้ง) อำเภอธาตุพนม (7 ครั้ง) อำเภอนาแก,นาหว้า (6 ครั้ง) อำเภอเรณูนคร (4 ครั้ง) อำเภอท่าอุเทน (3 ครั้ง) อำเภอปลาปาก,บ้านแพง,วังยาง (2 ครั้ง) และอำเภอศรีสงคราม (1 ครั้ง)
- อำเภอที่ไม่เกิดอุบัติเหตุ ได้แก่ อำเภอนาทม
3. จำนวนผู้เสียชีวิต 4ราย
- เปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2556 จำนวน 5 ราย ลดลง 1 ราย (คิดเป็น-20% )
- อำเภอที่ผู้เสียชีวิตสูงสุด คืออำเภอบ้านแพง (2 ราย)
- รองลงมา คือ อำเภอเมืองนครพนม,นาแก (1 ราย)
4. จำนวนผู้บาดเจ็บ 65 ราย
- เปรียบเทียบกับช่วงเทศกาลสงกรานต์ปี 2556 จำนวน 57 ราย เพิ่มขึ้น 8 ราย (คิดเป็น+14.04% )
- อำเภอที่ผู้บาดเจ็บสูงสุด คืออำเภอเมืองนครพนม (18 ราย) รองลงมาคืออำเภอธาตุพนม,โพนสวรรค์ (8 ราย) อำเภอนาหว้า (7 ราย) อำเภอนาแก (6 ราย) อำเภอท่าอุเทน,บ้านแพง,เรณูนคร ( 4ราย) อำเภอวังยาง (3ราย) อำเภอปลาปาก (2ราย) อำเภอศรีสงคราม (1ราย)
5. สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุสูงสุดคือ
- เมาสุรา 28 ครั้ง (คิดเป็น 46.67% )
- ขับรถเร็วเกินกำหนด 13 ครั้ง (คิดเป็น 21.67% )
- มอเตอร์ไซค์ไม่ปลอดภัย 11 ครั้ง (คิดเป็น 18.33% )
- ตัดหน้ากระชั้นชิด 7 ครั้ง (คิดเป็น 11.67% )
- สุนัขวิ่งตัดหน้า 1 ครั้ง (คิดเป็น 1.66% )
6. ยานพาหนะที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุดคือ
- รถมอเตอร์ไซค์ 54 ครั้ง (คิดเป็น 90.0% )
- รถปิกอัพ 3 ครั้ง (คิดเป็น 5.0% )
- คนเดินถนน 3 ครั้ง (คิดเป็น 5.0% )
7. ประเภทถนนที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุดคือ
- ถนนอบต./หมู่บ้าน 24 ครั้ง (คิดเป็น 40.01% )
- ถนนทางหลวงแผ่นดิน 20 ครั้ง (คิดเป็น 33.33% )
- ถนนในเมือง/เทศบาล 8 ครั้ง (คิดเป็น 13.33% )
- ถนนทางหลวงชนบท 8 ครั้ง (คิดเป็น 13.33% )
8. ช่วงเวลาที่เกิดอุบัติเหตุสูงสุดคือ
กลางคืน
- เวลา 16.01-20.00 น. 16 ครั้ง (คิดเป็น 26.67% )
- เวลา 20.01-00.00 น. 10 ครั้ง (คิดเป็น 16.67% )
- เวลา 00.01-04.00 น. 4 ครั้ง (คิดเป็น 6.66% )
- เวลา 04.01-08.00 น. 3 ครั้ง (คิดเป็น 5.00% )
กลางวัน
- เวลา 08.00-12.00 น. 15 ครั้ง (คิดเป็น 25.00% )
- เวลา 12.01-16.00 น. 12 ครั้ง (คิดเป็น 20.00% )
9. ช่วงอายุผู้บาดเจ็บสูงสุดคือ
- 30 39 ปี 18 คน (คิดเป็น 27.70% )
- 15-19 ปี 14 คน (คิดเป็น 21.53% )
- 20-24 ปี 9 คน (คิดเป็น 13.84% )
- 50 ปีขึ้นไป 8 คน (คิดเป็น 12.30% )
- 40-49 ปี 7 คน (คิดเป็น 10.77% )
- 1-14 ปี 5 คน (คิดเป็น 7.70% )
- 25-29 ปี 4 คน (คิดเป็น 6.16% )
10. ช่วงอายุผู้ชีวิตสูงสุดคือ
- 50 ปีขึ้นไป 2 คน (คิดเป็น 50% )
- 30-39 ปี 1 คน (คิดเป็น 25% )
- 1-14 ปี 1 คน (คิดเป็น 25% )
11. จำนวนยานพาหนะที่ถูกเรียกตรวจ 116,330 คัน เปรียบเทียบกับสงกรานต์ปี 2556 เพิ่มขึ้น 20,765 คัน คิดเป็น +21.73% รายละเอียดดังนี้
- รถมอเตอร์ไซค์ 41,861 คัน เพิ่มขึ้น 7,939 คัน ( คิดเป็น+23.40% )
- รถปิกอัพ 32,423 คัน เพิ่มขึ้น 6,684 คัน ( คิดเป็น+25.97% )
- รถเก๋ง/แท็กซี่ 23,073 คัน เพิ่มขึ้น 6,770 คัน ( คิดเป็น+41.53% )
- รถตู้ 5,822 คัน เพิ่มขึ้น 828 คัน (คิดเป็น+16.58% )
- รถโดยสาร 4 ล้อขึ้นไป 3,651 คัน เพิ่มขึ้น 832 คัน (คิดเป็น+29.51% )
- รถบรรทุก 6 ล้อขึ้นไป 2,374 คัน ลดลง 468 คัน (คิดเป็น-16.47% )
- รถอื่นๆ 7,126 คัน ลดลง 1,820 คัน (คิดเป็น-20.34% )
12. จำนวนผู้ที่ถูกดำเนินคดีตามมาตรการที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ 10 มาตรการ ดังนี้
- ไม่สวมหมวกนิรภัย 2,358 ราย ลดลง 67 ราย (คิดเป็น-2.76% )
- มอเตอร์ไซค์ไม่ปลอดภัย 852 ราย เพิ่มขึ้น 36 ราย (คิดเป็น+4.41% )
- เมาสุรา 139 ราย เพิ่มขึ้น 9 ราย (คิดเป็น+6.92% )
- ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย 1,308 ราย ลดลง 13 ราย (คิดเป็น-0.98% )
- ไม่มีใบขับขี่ 3,572 ราย เพิ่มขึ้น 160 ราย (คิดเป็น+4.69% )
- ความรถเร็วเกินกำหนด 432 ราย เพิ่มขึ้น 138 ราย (คิดเป็น+46.93% )
- ฝ่าฝืนสัญญาณไฟจราจร 242 ราย ลดลง 21 ราย (คิดเป็น-7.98% )
- ขับรถย้อนศร 283 ราย เพิ่มขึ้น 9 ราย (คิดเป็น+3.28% )
- แซงในที่ขับขัน 167 ราย เพิ่มขึ้น 40 ราย (คิดเป็น+31.50% )
- ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ขณะขับรถ 121 ราย ลดลง 5 ราย (คิดเป็น-3.97% )
13. สถิติทั่วประเทศ
- จังหวัดที่มีผู้เสียชีวิตสูงสุดได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 14 ราย รองลงมา คือ จังหวัดเชียงราย จำนวน 11 ราย และจังหวัดเชียงใหม่,นครสวรรค์,ราชบุรี จำนวน 9 ราย
- จังหวัดที่ไม่มีผู้เสียชีวิต จำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเพชรบุรี,อ่างทอง,ชัยนาท,พังงา,ยะลา
- จังหวัดนครพนมอยู่ในลำดับที่ 33 ของประเทศ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น