วันนี้ (25 กุมภาพันธ์ 2557 ) ณ ห้องประชุมโครงการศูนย์พัฒน าการเกษตรภูสิงห์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ พลเอกสถิต แจ่มจำรัส ผู้อำนวยการสำนักงานประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระรา ชดำริ กองทัพบก พร้อมด้วยคณะ เป็นประธานในการตรวจเยี่ยมติดตามผลการปฏิบัติงาน และให้กำลังใจแก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานฯ พร้อมกับรับฟังบรรยายสรุปขอ งโครงการศูนย์พัฒนาการเกษตร ภูสิงห์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอภูสิงห์ โดยมีนายประทีป กีรติเรขา ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ, นายไพโรจน์ อินทร์แก้ว นายอำเภอภูสิงห์, นายสวัสดิ์ สมสะอาด ผู้อำนวยการโครงพัฒนาการเกษ ตรอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อ ให้การต้อนรับ ซึ่งการตรวจเยี่ยมและติดตาม ผลการปฏิบัติงานนั้น เพื่อรับทราบปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางในการแก้ไข และรับฟังคำแนะนำ ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งตอบข้อซักถาม และมอบนโยบายและให้กำลังใจแ ก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ในศูนย์ฯ
สำหรับศูนย์พัฒนาการเกษตรภู สิงห์ อันเนื่องมาจากพระราชดำรินั้น ในปี 2532 ด้วยจังหวัดศรีสะเกษ ได้รับอนุญาตให้เข้าใช้พื้น ที่จัดตั้ง โครงการระบบผลติพลังงานชีวม วลในชนบท ปี 2533 โครงการดังกล่าวยุติลง กองกำลังสุรนารี จึงจัดตั้งเป็นศูนย์พัฒนาพื้นที่ชายแดน เพื่อพัฒนาอาชีพแก่ราษฎร ในพื้นที่ตามแนวชายแดน และโดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จเยี่ยมราษฎร เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2537 มีพระราชดำริว่า ให้ส่วนราชการต่างๆ ร่วมกันพิจารณาจัดตั้งศูนย์ พัฒนาการเกษตรแบบเบ็ดเสร็จขึ้น เพื่อช่วยเหลือราษฎร ประกอบอาชีพทำนาไม่ได้ผล โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสนองพระราชดำริ ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นสถานที่ให้บริการทางด้า นวิชาการเกษตรและสนับสนุนพั นธุ์พืช พันธุ์สัตว์ แก่เกษตรกร เป็นศูนย์กลางสาธิต ฝึกอบรมและเป็นตัวอย่าง เผยแพร่ความรู้ทางด้านเกษตร ให้เกษตรกรนำไปประยุกต์ใช้พัฒนาอาชีพทางการเกษตรของตนเ อง และเพื่อพัฒนาและยกระดับราย ได้ และคุณภาพชีวิตของราษฎรในพื้นที่ ให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี ขึ้น ซึ่งมีพื้นที่หมู่บ้านรอบศูนย์ 21 หมู่บ้าน เป็นพื้นที่เป้าหมายเร่งด่ว นอันดับที่ 1 พื้นที่ในเขตอำเภอภูสิงห์ 47 หมู่บ้าน คือหมู่บ้านโครงการทับทิมสย าม 04, 06, 07 เป็นหมู่บ้านเป้าหมายเร่งด่ วนอันดับ 2 หมู่บ้านนอกเขตอำเภอภูสิงห์ 14 หมู่บ้าน คือ หมู่บ้านโครงการส่งเสริมศิล ปาซีพ และหมู่บ้าน ปชด.ไทย-กัมพูชา ในจังหวัดศรีสะเกษ และศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิง ห์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะ เกษ เป็นประธาน ซึ่งในศูนย์ฯ ได้ดำเนินโครงการ โดยคัดเลือกเมนูเด็ดของศูนย์ จำนวน 15 เมนู ประกอบด้วย การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวด อกมะลิ 105, การปลูกมะนาวนอกฤดู, การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ, การปลูกยางพารา, เกษตรทฤษฎีใหม่, ระบบวนเกษตร, การเลี้ยงปลานิลในกระชัง, การเลี้ยงกบ, การเพาะเห็ดในไม้วงศ์ยาง, การปลูกหวายเพื่อใช้ประโยชน์จากหน่อ, การผลิตผ้าไหมย้อมสีธรรมชาติ, การผลิตชาเขียวใบหม่อน, การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร (กล้วยตากอบน้ำผึ้ง และกล้วยกรอบเค็ม) และการเลี้ยงไก่พื้นเมืองใน ระดับครัวเรือน
สำหรับศูนย์พัฒนาการเกษตรภู สิงห์ อันเนื่องมาจากพระราชดำรินั้น ในปี 2532 ด้วยจังหวัดศรีสะเกษ ได้รับอนุญาตให้เข้าใช้พื้น ที่จัดตั้ง โครงการระบบผลติพลังงานชีวม วลในชนบท ปี 2533 โครงการดังกล่าวยุติลง กองกำลังสุรนารี จึงจัดตั้งเป็นศูนย์พัฒนาพื้นที่ชายแดน เพื่อพัฒนาอาชีพแก่ราษฎร ในพื้นที่ตามแนวชายแดน และโดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จเยี่ยมราษฎร เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2537 มีพระราชดำริว่า ให้ส่วนราชการต่างๆ ร่วมกันพิจารณาจัดตั้งศูนย์ พัฒนาการเกษตรแบบเบ็ดเสร็จขึ้น เพื่อช่วยเหลือราษฎร ประกอบอาชีพทำนาไม่ได้ผล โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสนองพระราชดำริ ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นสถานที่ให้บริการทางด้า นวิชาการเกษตรและสนับสนุนพั นธุ์พืช พันธุ์สัตว์ แก่เกษตรกร เป็นศูนย์กลางสาธิต ฝึกอบรมและเป็นตัวอย่าง เผยแพร่ความรู้ทางด้านเกษตร ให้เกษตรกรนำไปประยุกต์ใช้พัฒนาอาชีพทางการเกษตรของตนเ อง และเพื่อพัฒนาและยกระดับราย ได้ และคุณภาพชีวิตของราษฎรในพื้นที่ ให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี ขึ้น ซึ่งมีพื้นที่หมู่บ้านรอบศูนย์ 21 หมู่บ้าน เป็นพื้นที่เป้าหมายเร่งด่ว นอันดับที่ 1 พื้นที่ในเขตอำเภอภูสิงห์ 47 หมู่บ้าน คือหมู่บ้านโครงการทับทิมสย าม 04, 06, 07 เป็นหมู่บ้านเป้าหมายเร่งด่ วนอันดับ 2 หมู่บ้านนอกเขตอำเภอภูสิงห์ 14 หมู่บ้าน คือ หมู่บ้านโครงการส่งเสริมศิล ปาซีพ และหมู่บ้าน ปชด.ไทย-กัมพูชา ในจังหวัดศรีสะเกษ และศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิง ห์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะ เกษ เป็นประธาน ซึ่งในศูนย์ฯ ได้ดำเนินโครงการ โดยคัดเลือกเมนูเด็ดของศูนย์ จำนวน 15 เมนู ประกอบด้วย การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวด อกมะลิ 105, การปลูกมะนาวนอกฤดู, การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ, การปลูกยางพารา, เกษตรทฤษฎีใหม่, ระบบวนเกษตร, การเลี้ยงปลานิลในกระชัง, การเลี้ยงกบ, การเพาะเห็ดในไม้วงศ์ยาง, การปลูกหวายเพื่อใช้ประโยชน์จากหน่อ, การผลิตผ้าไหมย้อมสีธรรมชาติ, การผลิตชาเขียวใบหม่อน, การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร (กล้วยตากอบน้ำผึ้ง และกล้วยกรอบเค็ม) และการเลี้ยงไก่พื้นเมืองใน ระดับครัวเรือน
ฉัตรชัย พรหมมาศ/ข่าว/ภาพ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น