ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย และดินโคลนถล่ม จังหวัดสุรินทร์ ปี 2556
ณ สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุรินทร์ ถนนสุรินทร์-ปราสาท กม.9 ต.เฉนียง อ.เมือง จ.สุรินทร์
ข้อมูลวันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา 14.00 น.
***************************************
1. สภาพอากาศของจังหวัดสุรินทร์ 7 วันข้างหน้า
ในช่วงวันที่ 14-17 ตุลาคม 2556 อากาศเย็นและมีหมอกบางในตอนเช้าบางพื้นที่ ท้องฟ้ามีเมฆเป็นส่วนมาก และมีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40 ของพื้นที่ เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากพายุโซนร้อน “นารี”(NARI)
2. สภาพฝนจังหวัดสุรินทร์
จังหวัดสุรินทร์มีฝนเฉลี่ยตั้งแต่เดือนมกราคม 2556-ปัจจุบันวัดได้ 1,463.6 มม. (108.30%) ของฝนเฉลี่ย
จังหวัดสุรินทร์ 40 ปี (1,351.6 มม.)
3. สภาพน้ำท่าในอ่างเก็บน้ำขนาดกลางเขตชลประทาน ทั้ง ๑๘ แห่ง ซึ่งมีสำคัญในการอุปโภค-บริโภค และด้านการเกษตรปริมาณน้ำที่มีอยู่ปัจจุบันวัดได้ ดังนี้
สำหรับปริมาณน้ำในแม่น้ำสายหลัก/ลำน้ำ ที่สำคัญได้แก่
1) แม่น้ำมูล จุดสถานีตรวจวัดน้ำ M4 (สะพานบ้านพงสวาย ต.ท่าตูม อ.ท่าตูม) ระดับน้ำปัจจุบัน วัดได้ 7.96 ม.
(ระดับตลิ่ง 6.30 ม.) **ล้นตลิ่ง 1.66 เมตร ระดับน้ำเพิ่มขึ้นจากเมื่อวาน 4 ซม.
2) ลำน้ำชี จุดสถานีตรวจวัดน้ำ M26A (สะพานสุรินทร์-อ.กระสัง) ระดับน้ำปัจจุบัน 10.90 ม.
(ระดับตลิ่ง 6.90 ม.) ล้นตลิ่ง 4.00 ม. เพิ่มขึ้นจากเมื่อวาน 15 ซม. และจุดสถานีตรวจวัดน้ำ M 159 A (สะพานบุรีรินทร์
อ.จอมพระ-อ.สตึก) ระดับน้ำปัจจุบัน 8.88 ม.(ระดับตลิ่ง 11.30 ม.) ต่ำกว่าตลิ่ง 2.50ม. ระดับน้ำเพิ่มขึ้นจากเมื่อวาน 8 ซม.
4. สรุปสถานการณ์อุทกภัยระหว่างวันที่ 18 กันยายน-15 ตุลาคม 2556
ตามที่ จังหวัดสุรินทร์ได้รับอิทธิพลจากพายุดีเปรสชั่น ทำให้เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน 2556
เวลา 20.30 น. เป็นต้นมามีผลทำให้หลายพื้นที่ได้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำไหลหลาก โดยปริมาณฝนตกในพื้นที่เริ่มลดลง ตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน 2556 ดังนี้
1) พื้นที่ประสบภัย จำนวน 17 อำเภอ 146 ตำบล 1,603 หมู่บ้าน ได้แก่ อำเภอเมืองสุรินทร์ สังขะ ศรีณรงค์ จอมพระ เขวาสินรินทร์ ศีขรภูมิ ท่าตูม รัตนบุรี สำโรงทาบ ลำดวน บัวเชด กาบเชิง สนม ปราสาท โนนนารายณ์ ชุมพลบุรี และอำเภอพนมดงรัก
2) ความเสียหายในเบื้องต้น (อยู่ระหว่างสำรวจความเสียหาย)
- ด้านชีวิต ราษฎรได้รับความเดือดร้อนจำนวน 781,003 คน 252,780 ครัวเรือน เสียชีวิต 16 ราย
- ด้านทรัพย์สิน บ้านเรือนเสียหายบางส่วน 3,326 หลังคาเรือน
- ด้านการเกษตร ข้าวคาดว่าจะเสียหาย 620,978,พืชไร่ คาดว่าจะเสียหาย 17,131 ไร่ พืชสวน คาดว่าจะเสียหาย 5,382 ไร่
- ด้านปศุสัตว์/ประมง บ่อ/ปลากุ้ง คาดว่าจะเสียหาย 2,126 แห่ง, ปศุสัตว์ที่ได้รับผลกระทบ 21,174 ตัว สัตว์ปีกที่ได้รับผลกระทบ 58,038 ตัว
- ด้านสิ่งสาธารณประโยชน์ ถนน 486 สาย, สะพาน 12 แห่ง, ท่อระบายน้ำ 97 แห่ง , ฝาย 25 แห่ง,
วัด 11 แห่ง, โรงเรียน 132 แห่ง, สถานที่ราชการ 29 แห่ง, คันดิน/คันคลอง 74 แห่ง
- สถานประกอบกิจการที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย 525 แห่ง ลูกจ้าง 6,339 คน
- สถานบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้รับผลกระทบ 50 แห่ง จนท.รพ.สต. 50 คน และ อสม. 400 คน
3) การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย หน่วยงานราชการ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาครัฐ ภาคเอกชน มูลนิธิฯ องค์การการกุศล และหน่วยงานอื่นๆ ได้ระดมสรรพกำลัง เรือท้องแบน เครื่องสูบน้ำ เครื่องจักรกล รถบรรทุก เครื่องมือ-อุปกรณ์ สิ่งของบรรเทาทุกข์ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ ดังนี้
1) ด้านสิ่งของบรรเทาทุกข์ ได้แก่ ถุงยังชีพ 51,579 ชุด,ข้าวกล่อง 44,630 กล่อง,ข้าวสาร 17,000 ถุง
น้ำดื่ม 7,210 แพ๊ก,ยาเวชภัณฑ์ 4,400 ชุด
2) ด้านปศุสัตว์ ได้แก่ หญ้าแห้ง 8,000 ก้อน,ฟางอัดก้อน 746 ก้อน,แร่ธาตุ 200 ก้อน
3) ด้านเครื่องมือ-อุปกรณ์ เครื่องจักรกล ได้แก่ เรือท้องแบน 50 ลำ,เครื่องยนต์เรือ 10 เครื่อง, รถบรรทุก 38 คัน,รถกู้ภัยเอนกประสงค์ 6 คัน,รถบรรทุกน้ำดื่ม 6 คัน,เครื่องสูบน้ำอัตโนมัติใต้ดิน 4 เครื่อง,เครื่องสูบน้ำ 8,10,12 นิ้ว 16 เครื่อง,กำลังพลทหาร 100 นาย,อส. 30 นาย ,อปพร. 1,500 นาย,กระสอบทราย 15,000 ใบ,ทราย 19 คันรถบรรทุก
4) จังหวัดสุรินทร์ได้จัดตั้งศูนย์รับบริจาคสิ่งของบรรเทาทุกข์เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ณ บริเวณหน้าสำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัดสุรินทร์ ตั้งแต่วันที่ 23 กันยายน-7 ตุลาคม 2556 มีผู้บริจาคเงินสด 312,031.50 บาท,ข้าวสาร 503 ถุงๆละ 5 กก.,น้ำดื่ม 291 แพ็ก,ถุงยังชีพ 617 ถุง,อื่นๆ 12 รายการ,กรมศาสนา จำนวน 12,000 บาท ในการจัดซื้อเครื่องอุปโภค-บริโภคที่จำเป็นสำหรับพระสงฆ์ที่ประสบภัย และกระทรวงพาณิชย์ ได้จัดข้าวสารบรรจุถุง จำนวน 20,000 ถุงๆละ 4 กิโลกรัม โดยจะแจกจ่ายให้กับอำเภอๆละ1,000 ถุง(รวม 17,000 ถุง) และมอบให้สำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัดสุรินทร์ จำนวน 3,000 ถุง
4) การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย)
ขณะนี้จังหวัดสุรินทร์ได้ประกาศพื้นที่ประสบอุทกภัยแล้ว เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2556 และวันที่ 30 กันยายน 2556 จำนวน 16 อำเภอ 137 ตำบล 1,884 หมู่บ้าน ได้แก่ อำเภอเมืองสุรินทร์ สังขะ จอมพระ เขวาสินรินทร์ สำโรงทาบ ศรีณรงค์ ปราสาท ท่าตูม ลำดวน โนนนารายณ์ บัวเชด ศีขรภูมิ สนม รัตนบุรี พนมดงรัก และอำเภอกาบเชิง สำหรับอำเภอที่ยังไม่ได้ประกาศ ฯ (อุทกภัย) ได้แก่ อำเภอชุมพลบุรี ซึ่งอยู่ระหว่างนำเรียนผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์พิจารณาประกาศภัยฯ
5. สถานการณ์อุทกภัยขณะนี้ (15 ตุลาคม 2556 เวลา 14.00 น.)
1. ขณะนี้ยังมีน้ำท่วมขังบริเวณสองฝั่งแม่น้ำมูลในพื้นที่ อำเภอชุมพลบุรี ท่าตูม และอำเภอรัตนบุรี สาเหตุเนื่องจากปริมาณน้ำในแม่น้ำมูลที่ไหลหลากมาจากจังหวัดนครราชสีมา ผ่านจังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์บริเวณอำเภอชุมพลบุรี ท่าตูม และรัตนบุรี ระดับน้ำยังเพิ่มขึ้นเฉลี่ยวันละ 3-5 ซม. และเอ่อล้นตลิ่งไหลท่วมพื้นที่การเกษตรและบ้านเรือนราษฎรบริเวณสองฝั่งแม่น้ำมูลในพื้นที่ดังกล่าว จำนวน 3 อำเภอ 20 ตำบล 126 หมู่บ้าน ดังนี้
1) อำเภอชุมพลบุรี 8 ตำบล 52 หมู่บ้าน ท่วมพื้นที่การเกษตร ถนนและบ้านเรือนบางส่วน (ระดับน้ำเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 3-5 ซม./วัน) ได้แก่
-ตำบลหนองเรือ หมู่ 2,3,4,7,8, ตำบลนาหนองไผ่ หมู่ 1,2,4,7,8,9,10,13,16,17,19
-ตำบลเมืองบัว หมู่ 1,2,3,4,7,8, ตำบลศรีณรงค์ หมู่ 3,7,ตำบลสระขุด หมู่ 1,2,5,7,8,10,11,
-ตำบลชุมพลบุรี หมู่ 2,3,4,5,6,12,15,17,18,19,21,ตำบลกระเบื้อง หมู่ 1,2,3,4,10
-ตำบลยะวึก หมู่3,5,6,7,8 สำหรับบ้านเรือนประชาชนที่มีน้ำท่วมขังบริเวณบ้าน จำนวน 5 หมู่บ้าน 38 ครัวเรือน ได้แก่ ตำบลชุมพลบุรี บ้านทัพค่าย หมู่ 2 (25 ครัวเรือน), บ้านชุมพลบุรี หมู่ 18 (8 ครัวเรือน),ตำบลสระขุด บ้านสายสนอง หมู่ 7 (3 ครัวเรือน),บ้านอ้อ (1 ครัวเรือน) และตำบลเมืองบัว บ้านเมืองบัว หมู่ 1 (1 ครัวเรือน)
2) อำเภอท่าตูม 5 ตำบล 40 หมู่บ้าน ท่วมพื้นที่การเกษตรและถนนในการสัญจร (ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่องเฉลี่ยประมาณ 1 ซม./ชม.) ได้แก่
- ตำบลพรมเทพ หมู่ 3,5,6,8,10,11,12,14,16,18,20,22, ตำบลหนองบัว หมู่ 3,6,7,8,9
- ตำบลโพนครก หมู่ 1-16 มีน้ำไหลผ่านถนนทางเข้าออกหมู่บ้าน ม.11
- ตำบลบะ หมู่ 10,11,13,15 โดยถนนที่มีน้ำไหลผ่านทาง2 สาย ได้แก่ ถนนลาดยาง สายปรีง – อำเภอท่าตูม ระดับน้ำ 50-80 เซนติเมตร ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร รถเล็กผ่านไม่ได้ และถนนหินคลุกเชื่อมระหว่างบ้านยางเก่า หมู่ 13 ตำบลบะ - บ้านปรีง หมู่ 11 ตำบลบะ ระดับน้ำ 50-70 เซนติเมตร ระยะทาง 500 เมตร รถเล็กผ่านไม่ได้
- ตำบลกระโพ หมู่ ม.9,11,11 ตั้งแต่หลังวัดบ้านตากลาง ถนนสายสะพานใหม่นาหนองไผ่-กระโพ- บ้านยางบ่ออภิรมย์ (วังทะลุ) มีน้ำท่วมสูงขึ้นต่อเนื่อง บางจุดรถเล็กผ่านไม่ได้
3) อำเภอรัตนบุรี 7 ตำบล 34 หมู่บ้าน ท่วมพื้นที่การเกษตร(ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นจากเมื่อวานเฉลี่ย1 ซม./วัน) บางจุดเริ่มทรงตัว ได้แก่ ตำบลน้ำเขียว หมู่ 5,11 ,ตำบลแก หมู่ 4,9,7,11, ตำบลกุดขาคีม หมู่ 1,2,6 ,ตำบลทับใหญ่
หมู่ 1,2,3,6,7,8,9,10 ,ตำบลหนองบัวทอง หมู่ 1,2,7, ตำบลดอนแรด หมู่ 1,2,3,6,7,8,9,11,12 ,ตำบลยางสว่าง หมู่ 3,4,6,8,11
๒) อำเภอสถานการณ์เข้าสู่ภาวะปกติ จำนวน 14 อำเภอ 121 ตำบล 1,353 หมู่บ้าน ได้แก่ อำเภอเมืองสุรินทร์ สังขะ จอมพระ เขวาสินรินทร์ สำโรงทาบ ศรีณรงค์ ปราสาท ลำดวน ศีขรภูมิ กาบเชิง บัวเชด พนมดงรัก โนนนารายณ์ และอำเภอสนม
6. การดำเนินการตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน - 15 ตุลาคม 2556
6.1) จังหวัดจัดตั้งศูนย์ประสานงานรับแจ้งสถานการณ์และการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ ห้องประชุมสุรินทร์ภักดี ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ โดยมีเจ้าหน้าที่ สนง.ปภ.สุรินทร์ ประจำศูนย์ และดำเนินการประชุมหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อรับทราบสถานการณ์และการให้ความช่วยเหลือ เวลา 09.30 น เป็นประจำทุกวัน หมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร 044-713004, 081-9219342 และขณะนี้ได้ปิดศูนย์ฯ ณ ณ ห้องประชุมสุรินทร์ภักดี ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดสุรินทร์แล้ว แต่ยังคงจัดตั้งศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยและดินโคลนถล่ม ปี 2556 จังหวัดสุรินทร์ ณ สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุรินทร์ ถนนสุรินทร์-ปราสาท กม.9 ตำบลเฉนียง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ โทรศัพท์/โทรสาร 0-4414-3058-9
6.2) จัดตั้งโรงครัวประกอบเลี้ยง จำนวน 5 จุด ได้แก่
- จุดที่ 1 สถานีกาชาดที่ 1 จังหวัดสุรินทร์ (ปิดโรงครัวเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- จุดที่ 2 อาคารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สนง.เทศบาลเมืองสุรินทร์ (ปิดโรงครัวเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- จุดที่ 3 มูลนิธิจิ้บเต็กเซี่ยงตึ้ง (ปิดโรงครัวเนื่องจากสถานกผหารณ์คลี่คลายแล้ว)
- จุดที่ 4 อบต.นอกเมือง (ปิดโรงครัวเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- จุดที่ 5 อบต.เฉนียง บริเวณเกาะลางถนน สี่แยกหนองเต่า (ปิดโรงครัวเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
6.3) จัดตั้งศูนย์พักพิงเพื่อช่วยผู้ประสบภัย
- ศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) จังหวัดทหารบกสุรินทร์ (อาคารสโมสรนายทหาร)
0-4451-1844 ต่อ 20043, 20044 (ปิดศูนย์ฯเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- ตชด.21 (ปิดศูนย์ฯเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- ที่ว่าการอำเภอที่ประสบอุทกภัย (ปิดศูนย์ฯเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- อาจารจอมสุรินทร์ มหาราชภัฏสุรินทร์ (ปิดศูนย์ฯเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- บ้านพัก ผู้อำนวยการวิทยาลัยอาชีวะศึกษาสุรินทร์ (ปิดศูนย์ฯเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
6.4) จัดตั้งศูนย์รับบริจาคสิ่งของบรรเทาทุกข์เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย
- บริเวณหน้าสำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัดสุรินทร์ (ปิดรับบริจาคแล้ว)
- บริเวณอนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง (ปิดรับบริจาคแล้ว)
6.5) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดสุรินทร์ ขณะนี้สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าทุกพื้นที่ตามปกติ
(นายนิรันดร์ บุญสิงห์)
หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุรินทร์
เลขานุการศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยและดินโคลนถล่ม ปี 2556 จังหวัดสุรินทร์
ณ สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุรินทร์ ถนนสุรินทร์-ปราสาท กม.9 ต.เฉนียง อ.เมือง จ.สุรินทร์
ข้อมูลวันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา 14.00 น.
***************************************
1. สภาพอากาศของจังหวัดสุรินทร์ 7 วันข้างหน้า
ในช่วงวันที่ 14-17 ตุลาคม 2556 อากาศเย็นและมีหมอกบางในตอนเช้าบางพื้นที่ ท้องฟ้ามีเมฆเป็นส่วนมาก และมีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40 ของพื้นที่ เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากพายุโซนร้อน “นารี”(NARI)
2. สภาพฝนจังหวัดสุรินทร์
จังหวัดสุรินทร์มีฝนเฉลี่ยตั้งแต่เดือนมกราคม 2556-ปัจจุบันวัดได้ 1,463.6 มม. (108.30%) ของฝนเฉลี่ย
จังหวัดสุรินทร์ 40 ปี (1,351.6 มม.)
3. สภาพน้ำท่าในอ่างเก็บน้ำขนาดกลางเขตชลประทาน ทั้ง ๑๘ แห่ง ซึ่งมีสำคัญในการอุปโภค-บริโภค และด้านการเกษตรปริมาณน้ำที่มีอยู่ปัจจุบันวัดได้ ดังนี้
สำหรับปริมาณน้ำในแม่น้ำสายหลัก/ลำน้ำ ที่สำคัญได้แก่
1) แม่น้ำมูล จุดสถานีตรวจวัดน้ำ M4 (สะพานบ้านพงสวาย ต.ท่าตูม อ.ท่าตูม) ระดับน้ำปัจจุบัน วัดได้ 7.96 ม.
(ระดับตลิ่ง 6.30 ม.) **ล้นตลิ่ง 1.66 เมตร ระดับน้ำเพิ่มขึ้นจากเมื่อวาน 4 ซม.
2) ลำน้ำชี จุดสถานีตรวจวัดน้ำ M26A (สะพานสุรินทร์-อ.กระสัง) ระดับน้ำปัจจุบัน 10.90 ม.
(ระดับตลิ่ง 6.90 ม.) ล้นตลิ่ง 4.00 ม. เพิ่มขึ้นจากเมื่อวาน 15 ซม. และจุดสถานีตรวจวัดน้ำ M 159 A (สะพานบุรีรินทร์
อ.จอมพระ-อ.สตึก) ระดับน้ำปัจจุบัน 8.88 ม.(ระดับตลิ่ง 11.30 ม.) ต่ำกว่าตลิ่ง 2.50ม. ระดับน้ำเพิ่มขึ้นจากเมื่อวาน 8 ซม.
4. สรุปสถานการณ์อุทกภัยระหว่างวันที่ 18 กันยายน-15 ตุลาคม 2556
ตามที่ จังหวัดสุรินทร์ได้รับอิทธิพลจากพายุดีเปรสชั่น ทำให้เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน 2556
เวลา 20.30 น. เป็นต้นมามีผลทำให้หลายพื้นที่ได้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำไหลหลาก โดยปริมาณฝนตกในพื้นที่เริ่มลดลง ตั้งแต่วันที่ 21 กันยายน 2556 ดังนี้
1) พื้นที่ประสบภัย จำนวน 17 อำเภอ 146 ตำบล 1,603 หมู่บ้าน ได้แก่ อำเภอเมืองสุรินทร์ สังขะ ศรีณรงค์ จอมพระ เขวาสินรินทร์ ศีขรภูมิ ท่าตูม รัตนบุรี สำโรงทาบ ลำดวน บัวเชด กาบเชิง สนม ปราสาท โนนนารายณ์ ชุมพลบุรี และอำเภอพนมดงรัก
2) ความเสียหายในเบื้องต้น (อยู่ระหว่างสำรวจความเสียหาย)
- ด้านชีวิต ราษฎรได้รับความเดือดร้อนจำนวน 781,003 คน 252,780 ครัวเรือน เสียชีวิต 16 ราย
- ด้านทรัพย์สิน บ้านเรือนเสียหายบางส่วน 3,326 หลังคาเรือน
- ด้านการเกษตร ข้าวคาดว่าจะเสียหาย 620,978,พืชไร่ คาดว่าจะเสียหาย 17,131 ไร่ พืชสวน คาดว่าจะเสียหาย 5,382 ไร่
- ด้านปศุสัตว์/ประมง บ่อ/ปลากุ้ง คาดว่าจะเสียหาย 2,126 แห่ง, ปศุสัตว์ที่ได้รับผลกระทบ 21,174 ตัว สัตว์ปีกที่ได้รับผลกระทบ 58,038 ตัว
- ด้านสิ่งสาธารณประโยชน์ ถนน 486 สาย, สะพาน 12 แห่ง, ท่อระบายน้ำ 97 แห่ง , ฝาย 25 แห่ง,
วัด 11 แห่ง, โรงเรียน 132 แห่ง, สถานที่ราชการ 29 แห่ง, คันดิน/คันคลอง 74 แห่ง
- สถานประกอบกิจการที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย 525 แห่ง ลูกจ้าง 6,339 คน
- สถานบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้รับผลกระทบ 50 แห่ง จนท.รพ.สต. 50 คน และ อสม. 400 คน
3) การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย หน่วยงานราชการ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาครัฐ ภาคเอกชน มูลนิธิฯ องค์การการกุศล และหน่วยงานอื่นๆ ได้ระดมสรรพกำลัง เรือท้องแบน เครื่องสูบน้ำ เครื่องจักรกล รถบรรทุก เครื่องมือ-อุปกรณ์ สิ่งของบรรเทาทุกข์ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในพื้นที่ ดังนี้
1) ด้านสิ่งของบรรเทาทุกข์ ได้แก่ ถุงยังชีพ 51,579 ชุด,ข้าวกล่อง 44,630 กล่อง,ข้าวสาร 17,000 ถุง
น้ำดื่ม 7,210 แพ๊ก,ยาเวชภัณฑ์ 4,400 ชุด
2) ด้านปศุสัตว์ ได้แก่ หญ้าแห้ง 8,000 ก้อน,ฟางอัดก้อน 746 ก้อน,แร่ธาตุ 200 ก้อน
3) ด้านเครื่องมือ-อุปกรณ์ เครื่องจักรกล ได้แก่ เรือท้องแบน 50 ลำ,เครื่องยนต์เรือ 10 เครื่อง, รถบรรทุก 38 คัน,รถกู้ภัยเอนกประสงค์ 6 คัน,รถบรรทุกน้ำดื่ม 6 คัน,เครื่องสูบน้ำอัตโนมัติใต้ดิน 4 เครื่อง,เครื่องสูบน้ำ 8,10,12 นิ้ว 16 เครื่อง,กำลังพลทหาร 100 นาย,อส. 30 นาย ,อปพร. 1,500 นาย,กระสอบทราย 15,000 ใบ,ทราย 19 คันรถบรรทุก
4) จังหวัดสุรินทร์ได้จัดตั้งศูนย์รับบริจาคสิ่งของบรรเทาทุกข์เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ณ บริเวณหน้าสำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัดสุรินทร์ ตั้งแต่วันที่ 23 กันยายน-7 ตุลาคม 2556 มีผู้บริจาคเงินสด 312,031.50 บาท,ข้าวสาร 503 ถุงๆละ 5 กก.,น้ำดื่ม 291 แพ็ก,ถุงยังชีพ 617 ถุง,อื่นๆ 12 รายการ,กรมศาสนา จำนวน 12,000 บาท ในการจัดซื้อเครื่องอุปโภค-บริโภคที่จำเป็นสำหรับพระสงฆ์ที่ประสบภัย และกระทรวงพาณิชย์ ได้จัดข้าวสารบรรจุถุง จำนวน 20,000 ถุงๆละ 4 กิโลกรัม โดยจะแจกจ่ายให้กับอำเภอๆละ1,000 ถุง(รวม 17,000 ถุง) และมอบให้สำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัดสุรินทร์ จำนวน 3,000 ถุง
4) การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย)
ขณะนี้จังหวัดสุรินทร์ได้ประกาศพื้นที่ประสบอุทกภัยแล้ว เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2556 และวันที่ 30 กันยายน 2556 จำนวน 16 อำเภอ 137 ตำบล 1,884 หมู่บ้าน ได้แก่ อำเภอเมืองสุรินทร์ สังขะ จอมพระ เขวาสินรินทร์ สำโรงทาบ ศรีณรงค์ ปราสาท ท่าตูม ลำดวน โนนนารายณ์ บัวเชด ศีขรภูมิ สนม รัตนบุรี พนมดงรัก และอำเภอกาบเชิง สำหรับอำเภอที่ยังไม่ได้ประกาศ ฯ (อุทกภัย) ได้แก่ อำเภอชุมพลบุรี ซึ่งอยู่ระหว่างนำเรียนผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์พิจารณาประกาศภัยฯ
5. สถานการณ์อุทกภัยขณะนี้ (15 ตุลาคม 2556 เวลา 14.00 น.)
1. ขณะนี้ยังมีน้ำท่วมขังบริเวณสองฝั่งแม่น้ำมูลในพื้นที่ อำเภอชุมพลบุรี ท่าตูม และอำเภอรัตนบุรี สาเหตุเนื่องจากปริมาณน้ำในแม่น้ำมูลที่ไหลหลากมาจากจังหวัดนครราชสีมา ผ่านจังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์บริเวณอำเภอชุมพลบุรี ท่าตูม และรัตนบุรี ระดับน้ำยังเพิ่มขึ้นเฉลี่ยวันละ 3-5 ซม. และเอ่อล้นตลิ่งไหลท่วมพื้นที่การเกษตรและบ้านเรือนราษฎรบริเวณสองฝั่งแม่น้ำมูลในพื้นที่ดังกล่าว จำนวน 3 อำเภอ 20 ตำบล 126 หมู่บ้าน ดังนี้
1) อำเภอชุมพลบุรี 8 ตำบล 52 หมู่บ้าน ท่วมพื้นที่การเกษตร ถนนและบ้านเรือนบางส่วน (ระดับน้ำเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 3-5 ซม./วัน) ได้แก่
-ตำบลหนองเรือ หมู่ 2,3,4,7,8, ตำบลนาหนองไผ่ หมู่ 1,2,4,7,8,9,10,13,16,17,19
-ตำบลเมืองบัว หมู่ 1,2,3,4,7,8, ตำบลศรีณรงค์ หมู่ 3,7,ตำบลสระขุด หมู่ 1,2,5,7,8,10,11,
-ตำบลชุมพลบุรี หมู่ 2,3,4,5,6,12,15,17,18,19,21,ตำบลกระเบื้อง หมู่ 1,2,3,4,10
-ตำบลยะวึก หมู่3,5,6,7,8 สำหรับบ้านเรือนประชาชนที่มีน้ำท่วมขังบริเวณบ้าน จำนวน 5 หมู่บ้าน 38 ครัวเรือน ได้แก่ ตำบลชุมพลบุรี บ้านทัพค่าย หมู่ 2 (25 ครัวเรือน), บ้านชุมพลบุรี หมู่ 18 (8 ครัวเรือน),ตำบลสระขุด บ้านสายสนอง หมู่ 7 (3 ครัวเรือน),บ้านอ้อ (1 ครัวเรือน) และตำบลเมืองบัว บ้านเมืองบัว หมู่ 1 (1 ครัวเรือน)
2) อำเภอท่าตูม 5 ตำบล 40 หมู่บ้าน ท่วมพื้นที่การเกษตรและถนนในการสัญจร (ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่องเฉลี่ยประมาณ 1 ซม./ชม.) ได้แก่
- ตำบลพรมเทพ หมู่ 3,5,6,8,10,11,12,14,16,18,20,22, ตำบลหนองบัว หมู่ 3,6,7,8,9
- ตำบลโพนครก หมู่ 1-16 มีน้ำไหลผ่านถนนทางเข้าออกหมู่บ้าน ม.11
- ตำบลบะ หมู่ 10,11,13,15 โดยถนนที่มีน้ำไหลผ่านทาง2 สาย ได้แก่ ถนนลาดยาง สายปรีง – อำเภอท่าตูม ระดับน้ำ 50-80 เซนติเมตร ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร รถเล็กผ่านไม่ได้ และถนนหินคลุกเชื่อมระหว่างบ้านยางเก่า หมู่ 13 ตำบลบะ - บ้านปรีง หมู่ 11 ตำบลบะ ระดับน้ำ 50-70 เซนติเมตร ระยะทาง 500 เมตร รถเล็กผ่านไม่ได้
- ตำบลกระโพ หมู่ ม.9,11,11 ตั้งแต่หลังวัดบ้านตากลาง ถนนสายสะพานใหม่นาหนองไผ่-กระโพ- บ้านยางบ่ออภิรมย์ (วังทะลุ) มีน้ำท่วมสูงขึ้นต่อเนื่อง บางจุดรถเล็กผ่านไม่ได้
3) อำเภอรัตนบุรี 7 ตำบล 34 หมู่บ้าน ท่วมพื้นที่การเกษตร(ระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้นจากเมื่อวานเฉลี่ย1 ซม./วัน) บางจุดเริ่มทรงตัว ได้แก่ ตำบลน้ำเขียว หมู่ 5,11 ,ตำบลแก หมู่ 4,9,7,11, ตำบลกุดขาคีม หมู่ 1,2,6 ,ตำบลทับใหญ่
หมู่ 1,2,3,6,7,8,9,10 ,ตำบลหนองบัวทอง หมู่ 1,2,7, ตำบลดอนแรด หมู่ 1,2,3,6,7,8,9,11,12 ,ตำบลยางสว่าง หมู่ 3,4,6,8,11
๒) อำเภอสถานการณ์เข้าสู่ภาวะปกติ จำนวน 14 อำเภอ 121 ตำบล 1,353 หมู่บ้าน ได้แก่ อำเภอเมืองสุรินทร์ สังขะ จอมพระ เขวาสินรินทร์ สำโรงทาบ ศรีณรงค์ ปราสาท ลำดวน ศีขรภูมิ กาบเชิง บัวเชด พนมดงรัก โนนนารายณ์ และอำเภอสนม
6. การดำเนินการตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน - 15 ตุลาคม 2556
6.1) จังหวัดจัดตั้งศูนย์ประสานงานรับแจ้งสถานการณ์และการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ ห้องประชุมสุรินทร์ภักดี ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ โดยมีเจ้าหน้าที่ สนง.ปภ.สุรินทร์ ประจำศูนย์ และดำเนินการประชุมหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อรับทราบสถานการณ์และการให้ความช่วยเหลือ เวลา 09.30 น เป็นประจำทุกวัน หมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร 044-713004, 081-9219342 และขณะนี้ได้ปิดศูนย์ฯ ณ ณ ห้องประชุมสุรินทร์ภักดี ชั้น 3 ศาลากลางจังหวัดสุรินทร์แล้ว แต่ยังคงจัดตั้งศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยและดินโคลนถล่ม ปี 2556 จังหวัดสุรินทร์ ณ สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุรินทร์ ถนนสุรินทร์-ปราสาท กม.9 ตำบลเฉนียง อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ โทรศัพท์/โทรสาร 0-4414-3058-9
6.2) จัดตั้งโรงครัวประกอบเลี้ยง จำนวน 5 จุด ได้แก่
- จุดที่ 1 สถานีกาชาดที่ 1 จังหวัดสุรินทร์ (ปิดโรงครัวเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- จุดที่ 2 อาคารงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สนง.เทศบาลเมืองสุรินทร์ (ปิดโรงครัวเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- จุดที่ 3 มูลนิธิจิ้บเต็กเซี่ยงตึ้ง (ปิดโรงครัวเนื่องจากสถานกผหารณ์คลี่คลายแล้ว)
- จุดที่ 4 อบต.นอกเมือง (ปิดโรงครัวเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- จุดที่ 5 อบต.เฉนียง บริเวณเกาะลางถนน สี่แยกหนองเต่า (ปิดโรงครัวเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
6.3) จัดตั้งศูนย์พักพิงเพื่อช่วยผู้ประสบภัย
- ศูนย์พักพิงผู้ประสบภัยกรณีฉุกเฉิน (อุทกภัย) จังหวัดทหารบกสุรินทร์ (อาคารสโมสรนายทหาร)
0-4451-1844 ต่อ 20043, 20044 (ปิดศูนย์ฯเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- ตชด.21 (ปิดศูนย์ฯเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- ที่ว่าการอำเภอที่ประสบอุทกภัย (ปิดศูนย์ฯเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- อาจารจอมสุรินทร์ มหาราชภัฏสุรินทร์ (ปิดศูนย์ฯเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
- บ้านพัก ผู้อำนวยการวิทยาลัยอาชีวะศึกษาสุรินทร์ (ปิดศูนย์ฯเนื่องจากสถานการณ์คลี่คลายแล้ว)
6.4) จัดตั้งศูนย์รับบริจาคสิ่งของบรรเทาทุกข์เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย
- บริเวณหน้าสำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัดสุรินทร์ (ปิดรับบริจาคแล้ว)
- บริเวณอนุสาวรีย์พระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง (ปิดรับบริจาคแล้ว)
6.5) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดสุรินทร์ ขณะนี้สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าทุกพื้นที่ตามปกติ
(นายนิรันดร์ บุญสิงห์)
หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุรินทร์
เลขานุการศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยและดินโคลนถล่ม ปี 2556 จังหวัดสุรินทร์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น